วันเสาร์ที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2562

       
                         บันทึกการเรียนครั้งที่ 7




        การเรียนในครั้งนี้นะคะอาจารย์ให้ทบทวนเรื่องเก่าด้วยการตอบคำถาม เด็กที่จะเรียยนรู้ต้องเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ถ้าเรายังไม่ได้เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม   อาจารย์ยกตัวอย่างเช่น แมวถ้ายังเดินทุรังไปหาเเมวแมวข่วนเเมวกัดถ้าเรายังเดินทุรังไปหาแมวในที่สุดโดนแมวกัด ดังนั้นการเรียนรู้คือสิ่งที่เราต้องมีอยู่ตลอดเวลาเราต้องเปลี่ยนเเปลงอยู่ตลอดเวลาเพื่อ "ความอยู่รอด" เเละวิธีการของเด็กเพื่อให้เด็กเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ถ้าไม่เปลี่ยนเเปลงพฤติกรรมเราวัดไม่ได้เพราะเราไม่เห็น เช่นเราอยากรู้ว่าเด็กพูดอธิบายได้ไหมเราก็ต้องให้เขาพูด ถ้าเราอยากเห็นเด็กเดินบนไม้ได้ไหมเราก็ต้องให้เขาทำและเราสังเกตุมันต้องมีสิ่งที่เราเห็นเราเห็นเราถึงวัดได้ การลงมือทำเป็นวิธีการที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และถ้าเด็กไม่เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตรงนั้นเขาเรียกว่าเด็กเพียงเเค่ รับรู้เราจะได้ว่าเด็กเกิดการเรียนรู้ก็ต่อเมื่อมี 
"การเปลี่ยนเเปลงพฤติกกรม"  ถ้าเด็กไม่ได้เปลี่ยนเเปลงพฤติกรรมเราเรียกว่าเด็กเพียงเเเค่รับรู้ เราวัดไม่ได้เราต้องการให้เด็กเพียงเเค่เเสดงออกมา การลงมือปฏิบัติผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 เป็นวิะีการของเด็กซึ่งวิธีการเเบบนี้สำคัญกับ การทำงานของสมอง เพราะเด็กใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ในการรับรู้เอาของมูลต่างๆเหล่านี้ส่งไปที่สมอง สมองทำหน้าที่ ซึมซับ เหมือนฟองน้ำ ส่งไปที่สมอง > ซึมซับ
  อาจารย์ยกตัวเช่น
กระดาษวาดเขียนสีขาวที่ชุบน้ำหมาดๆพอเก็บข้อมูลส่งไปปซึมซับหยดสี สีเกิดการกระจายเก็บไปอีกสมุติสีเเดงกับน้ำเงินบางครังมันไปสอดครล้องกันมันก็เกิดเป็นสีม่วง เพราะฉนั้นความร้มันเข้ามาตลอด พอเข้าไปบางครั้งมันไปสัมพันธ์กับความรู้เดิมมันก็เกิดการปรับโครงสร้างเป็น ความรู้ใหม่   
การเล่นกับวิธีการของเด็กที่ทำให้การทำงานของสมอง การเล่นสัมพันธ์กับการทำงานของสมองเพราะเด็กใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 เก็บข้อมูลส่งไปที่สมองเพื่อซึมซับ ความรู้ใหม่ไปสอดคล้องกับความรู้เก่าเกิดการปรับโครงสร้างเป็นความรู้ใหม่ในขณะที่ปรับโครงสร้างความู้ใหม่ถ้าเด็กไม่ได้นำมาใช้เเสดงว่าเพียงเเค่รับรู้ เเต่ถ้าเด็กนำมาใช้โดยนำมาเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมฉะนั้นเด็กเกิดการเรียนรู้ อาจารย์พูดถึงนักทฤษฏี เพียเจท์   นำเอาการทำงานของสมองมาจัดลำดับให้เปลี่ยนแปลงไปตามลำดับขั้นตอน เราเรียกว่าพัฒนาการ ซึ่งเพียเจท์พูดถึงพัฒนาการทางสติปัญญาเเรกเกิด ถึง 2 ปีเด็กมีพฤติกรรม นั่ง ยืน เดิน วิ่ง เป็นลำดับขั้นตอนเเต่เด็กจะมีพฤติกรรมที่เห็นได้ชัดในขณะที่คลาน เช่น การซื้อปลาตะเพียนมาเเขวน เพื่อให้เด็กสังเกต ซื้อกล่อนเสียงมาเพื่อให้เด็กได้ฟัง ซื้อที่กัดมาเพื่อให้อม เพราะฉนั้น ช่วงเเรกเกิดถึง 2 ปี เรียกว่าประสาทสัมผัส เก็บข้อมูล 
ช่วงอายุ 2 ถึง 4 ปีที่เห็นได้ขัดคือช่วงของภาษา เเต่ภาษาที่เด็กใช้ อ้อแอ้ หือเป็นคำๆ เเต่พอ 4 ถึง 6 ปีคือคำพูดจะยาวมากขึ้น




          เรื่องของการคิด
 มีปัจจัยที่เเสดงให้เห็นว่า มีขั้นอยู่นึงซึ่งถ้าเด็กผ่านขั้นอนุลักษณ์ได้เด็กเริ่มใช้เหตุผลได้เด็กเริ่งใช้สิ่งที่เป็นเหตุผลหรือสิ่งที่เป็นนามธรรมได้เเต่ถ้าเด็กยังไม่ผ่านขั้นอนุลักษณ์เด็กจะตอบตามที่ตาเห็น 
พัฒนาการทางสติปัญญา คณิตศาสตร์เป็นเรื่องของการคิด คณิตศาสตร์จะต้องให้เด็กได้ประสบการณ์จากสิ่งที่เป็นรูปธรรมก่อนนามธรรม





    สิ่งที่ฉันค้นคว้าเพิ่มเติม เรื่องทักษะการคิด

           ช่วงอายุ 7 ถึง 11 ปีเป็นเด็กที่วัยควรได้รับการสอนเลขคณิตศาสตร์คิดรอบยอดที่ซับซ้อนอื่นๆในช่วงอายุดังกล่าวเด็กกสามารถใช้สองคิดได้อย่างมีเหตุผล รู้จกแก้ปัญหากับสิ่งต่างๆ ที่เป็นรูปธรรมได้ รู้จักแก้ปัญหากับสิ่งต่างๆที่เป็นรูปธรรมได้ สามารถเข้าใจเกี่ยวกับความคงตัวของสิ่งต่างๆ เด็กเข้าใจว่าของเเข็งหรือของเหลวจำนวนหนึ่งเป็นเเม้ว่าจะเปลี่ยรูปร่างก็ยังมีน้ำหนักหรือปริมาณเท่าเดิม สามารถเข้าใจความสัมพันธ์ของส่วนย่อยส่วนรวม
ขั้นการเเก้ปัญหาเเบบรูปธรรม
สามารถบอกได้ว่าจำนวนของเหลวหรือของเเข็งที่จะคงที่เเม้ว่าเปลี่ยนรูปร่างหรือสถานที่
โครงสร้างทางสติปัญญาอย่างสมบูรณ์
สามารถเปรียบเทียบเเละสามารถเข้าใจว่าสิ่งใดสิ่งหนึ่งใหญ่กว่า มากกว่า น้อยกว่า ขึ้นอยู่กับการเปรียบเทียบกับอะไร
สามารถตั้งเกณฑ์ในการเเบ่งหรือจัดสิ่งเเวดล้อมรอบๆตัวเป็นหมวดหมู่ได้ลักษณะเด่นของเด็กวันนี้คือ มีความสามารถในการคิดย้อนกลับ
(Reversibility) มีความเข้าใจเกี่ยวกับการเเบ่งหมู่เเละจัดหมวดหมู่ โดยมีเกณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่งเป็นหลักการที่เด็กมีความสามารถเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องราวคงตัวหรือคิดย้อนกลับได้นั้น เพราะเด็กวันนี้เเทนที่จะมองอะไรเพียงลักษณะเดียวเหมือนตอนเด็กๆ เด็กจะสามารถมองวัตถุได้ 2 ลักษณะในเวลาเดียวกัน คือสามารถคิดถึงขนาดเเละน้ำหนัก หรือขนาดปริมาณไปพร้อมๆกันได้ เช่น ความมืดและความสว่าง ขึ้นอยู่ว่าเปรียบเทียบกับอะไร เข้าใจความหมายของส่วยย่อยเเละส่วนรวม การพัฒนาทางสติปัญญามีเป้าหมายสูงสุด คือสามารถคิดเเก้ปัญหานามธรรมได้ เเต่ก่อนที่จะพัฒนาถึงขั้นนี้ เด็กจะเริ่มด้วยการเรียนรู้สิ่งต่างๆจากสิ่งแวดล้อม เริ่มเเก้ปัญหาด้วยการกระทำแล้วค่อยๆพัฒนาความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ หรือเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้น จากนั้นจึงสามารถคิดแก้ปัญหารูปธรรมได้ เเละคิดแก้ปัญหานามธรรมได้ในที่สุด
เป็นขั้นตอนที่สามารถคิดและเเก้ปัญหาได้อย่างแท้จริง เด็กมรความคิดรวบยอดที่เฉียบคมและเเม่นยำมากขึ้น เเต่ยังต้อง อาศัยของจริงอยู่จึงจะคิดได้ในช่วงนี้เด็กจะรู้จักหมวดหมู่ เเละเรียงลำดับที่ซับซ้อนขึ้นเด็กในวัยนี้เริ่มมีความสามารถในการสร้างในการสร้างกฏเกณฑ์รู้จักที่จะเเบ่งสิ่งเเวดล้อมออกเป็นหมวดหมู่ได้ สามารถจัดลำดับความหนักหรือความยาวได้




            ภาพบรรยากาศในห้องเรียนค่ะ









                                 ข้อคิดเห็น
การเรียนในครั้งนี้อาจารย์ได้พูดถึงนักทฤษฏีที่เกี่ยวข้องได้ความรู้ใหม่ๆเพิ่มเติมค่ะบรรยากาศในห้องเรียนเหมาะสมดีค่ะเอื้อต่อการเรียนรู้ภายในห้องเรียนมีการถามตอบค่ะมีการเเสดงความคิดเห็น


            คำศัพท์
1.Concrete             รูปธรรม
2.Intelligence         สติปัญญา
3.Compare             เปรียบเทียบ
4.Absorb                ซึมซับ
5.New knowledge ความรู้ใหม่
6.Acknowledge     รับรู้
7.Change               เปลี่ยแปลง
8.Structure            โครงสร้าง
9.Behavior             พฤติกรรม
10.Shape                 รูปร่าง




                                 ประเมินผล

ประเมินตนเอง  วันนี้ดิฉันตั้งใจหาคำศัพท์หาความใหม่เพิ่มเติมเเละตั้งใจฟังค่ะ

ประเมินเพื่อน  วันนี้เพื่อนๆตั้งใจเรียนเเละช่วยกันเเสดงความคิดในคำตอบที่อาจารย์ที่อาจารย์ถามค่ะมองไปทางไหนก็เห็นเเต่รอยยิ้มๆของเพื่อนๆค่ะ

ประเมินอาจารย์  วันนี้อาจารย์ให้ความรู้เพิ่มเติมและนำเอานักทฤษฏีที่เกี่ยวข้องมาพูดให้เราเข้าใจเพิ่มมากขึ้นค่ะ





ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น