วันเสาร์ที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2562

       
                         บันทึกการเรียนครั้งที่ 7




        การเรียนในครั้งนี้นะคะอาจารย์ให้ทบทวนเรื่องเก่าด้วยการตอบคำถาม เด็กที่จะเรียยนรู้ต้องเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ถ้าเรายังไม่ได้เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม   อาจารย์ยกตัวอย่างเช่น แมวถ้ายังเดินทุรังไปหาเเมวแมวข่วนเเมวกัดถ้าเรายังเดินทุรังไปหาแมวในที่สุดโดนแมวกัด ดังนั้นการเรียนรู้คือสิ่งที่เราต้องมีอยู่ตลอดเวลาเราต้องเปลี่ยนเเปลงอยู่ตลอดเวลาเพื่อ "ความอยู่รอด" เเละวิธีการของเด็กเพื่อให้เด็กเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ถ้าไม่เปลี่ยนเเปลงพฤติกรรมเราวัดไม่ได้เพราะเราไม่เห็น เช่นเราอยากรู้ว่าเด็กพูดอธิบายได้ไหมเราก็ต้องให้เขาพูด ถ้าเราอยากเห็นเด็กเดินบนไม้ได้ไหมเราก็ต้องให้เขาทำและเราสังเกตุมันต้องมีสิ่งที่เราเห็นเราเห็นเราถึงวัดได้ การลงมือทำเป็นวิธีการที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และถ้าเด็กไม่เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตรงนั้นเขาเรียกว่าเด็กเพียงเเค่ รับรู้เราจะได้ว่าเด็กเกิดการเรียนรู้ก็ต่อเมื่อมี 
"การเปลี่ยนเเปลงพฤติกกรม"  ถ้าเด็กไม่ได้เปลี่ยนเเปลงพฤติกรรมเราเรียกว่าเด็กเพียงเเเค่รับรู้ เราวัดไม่ได้เราต้องการให้เด็กเพียงเเค่เเสดงออกมา การลงมือปฏิบัติผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 เป็นวิะีการของเด็กซึ่งวิธีการเเบบนี้สำคัญกับ การทำงานของสมอง เพราะเด็กใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ในการรับรู้เอาของมูลต่างๆเหล่านี้ส่งไปที่สมอง สมองทำหน้าที่ ซึมซับ เหมือนฟองน้ำ ส่งไปที่สมอง > ซึมซับ
  อาจารย์ยกตัวเช่น
กระดาษวาดเขียนสีขาวที่ชุบน้ำหมาดๆพอเก็บข้อมูลส่งไปปซึมซับหยดสี สีเกิดการกระจายเก็บไปอีกสมุติสีเเดงกับน้ำเงินบางครังมันไปสอดครล้องกันมันก็เกิดเป็นสีม่วง เพราะฉนั้นความร้มันเข้ามาตลอด พอเข้าไปบางครั้งมันไปสัมพันธ์กับความรู้เดิมมันก็เกิดการปรับโครงสร้างเป็น ความรู้ใหม่   
การเล่นกับวิธีการของเด็กที่ทำให้การทำงานของสมอง การเล่นสัมพันธ์กับการทำงานของสมองเพราะเด็กใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 เก็บข้อมูลส่งไปที่สมองเพื่อซึมซับ ความรู้ใหม่ไปสอดคล้องกับความรู้เก่าเกิดการปรับโครงสร้างเป็นความรู้ใหม่ในขณะที่ปรับโครงสร้างความู้ใหม่ถ้าเด็กไม่ได้นำมาใช้เเสดงว่าเพียงเเค่รับรู้ เเต่ถ้าเด็กนำมาใช้โดยนำมาเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมฉะนั้นเด็กเกิดการเรียนรู้ อาจารย์พูดถึงนักทฤษฏี เพียเจท์   นำเอาการทำงานของสมองมาจัดลำดับให้เปลี่ยนแปลงไปตามลำดับขั้นตอน เราเรียกว่าพัฒนาการ ซึ่งเพียเจท์พูดถึงพัฒนาการทางสติปัญญาเเรกเกิด ถึง 2 ปีเด็กมีพฤติกรรม นั่ง ยืน เดิน วิ่ง เป็นลำดับขั้นตอนเเต่เด็กจะมีพฤติกรรมที่เห็นได้ชัดในขณะที่คลาน เช่น การซื้อปลาตะเพียนมาเเขวน เพื่อให้เด็กสังเกต ซื้อกล่อนเสียงมาเพื่อให้เด็กได้ฟัง ซื้อที่กัดมาเพื่อให้อม เพราะฉนั้น ช่วงเเรกเกิดถึง 2 ปี เรียกว่าประสาทสัมผัส เก็บข้อมูล 
ช่วงอายุ 2 ถึง 4 ปีที่เห็นได้ขัดคือช่วงของภาษา เเต่ภาษาที่เด็กใช้ อ้อแอ้ หือเป็นคำๆ เเต่พอ 4 ถึง 6 ปีคือคำพูดจะยาวมากขึ้น




          เรื่องของการคิด
 มีปัจจัยที่เเสดงให้เห็นว่า มีขั้นอยู่นึงซึ่งถ้าเด็กผ่านขั้นอนุลักษณ์ได้เด็กเริ่มใช้เหตุผลได้เด็กเริ่งใช้สิ่งที่เป็นเหตุผลหรือสิ่งที่เป็นนามธรรมได้เเต่ถ้าเด็กยังไม่ผ่านขั้นอนุลักษณ์เด็กจะตอบตามที่ตาเห็น 
พัฒนาการทางสติปัญญา คณิตศาสตร์เป็นเรื่องของการคิด คณิตศาสตร์จะต้องให้เด็กได้ประสบการณ์จากสิ่งที่เป็นรูปธรรมก่อนนามธรรม





    สิ่งที่ฉันค้นคว้าเพิ่มเติม เรื่องทักษะการคิด

           ช่วงอายุ 7 ถึง 11 ปีเป็นเด็กที่วัยควรได้รับการสอนเลขคณิตศาสตร์คิดรอบยอดที่ซับซ้อนอื่นๆในช่วงอายุดังกล่าวเด็กกสามารถใช้สองคิดได้อย่างมีเหตุผล รู้จกแก้ปัญหากับสิ่งต่างๆ ที่เป็นรูปธรรมได้ รู้จักแก้ปัญหากับสิ่งต่างๆที่เป็นรูปธรรมได้ สามารถเข้าใจเกี่ยวกับความคงตัวของสิ่งต่างๆ เด็กเข้าใจว่าของเเข็งหรือของเหลวจำนวนหนึ่งเป็นเเม้ว่าจะเปลี่ยรูปร่างก็ยังมีน้ำหนักหรือปริมาณเท่าเดิม สามารถเข้าใจความสัมพันธ์ของส่วนย่อยส่วนรวม
ขั้นการเเก้ปัญหาเเบบรูปธรรม
สามารถบอกได้ว่าจำนวนของเหลวหรือของเเข็งที่จะคงที่เเม้ว่าเปลี่ยนรูปร่างหรือสถานที่
โครงสร้างทางสติปัญญาอย่างสมบูรณ์
สามารถเปรียบเทียบเเละสามารถเข้าใจว่าสิ่งใดสิ่งหนึ่งใหญ่กว่า มากกว่า น้อยกว่า ขึ้นอยู่กับการเปรียบเทียบกับอะไร
สามารถตั้งเกณฑ์ในการเเบ่งหรือจัดสิ่งเเวดล้อมรอบๆตัวเป็นหมวดหมู่ได้ลักษณะเด่นของเด็กวันนี้คือ มีความสามารถในการคิดย้อนกลับ
(Reversibility) มีความเข้าใจเกี่ยวกับการเเบ่งหมู่เเละจัดหมวดหมู่ โดยมีเกณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่งเป็นหลักการที่เด็กมีความสามารถเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องราวคงตัวหรือคิดย้อนกลับได้นั้น เพราะเด็กวันนี้เเทนที่จะมองอะไรเพียงลักษณะเดียวเหมือนตอนเด็กๆ เด็กจะสามารถมองวัตถุได้ 2 ลักษณะในเวลาเดียวกัน คือสามารถคิดถึงขนาดเเละน้ำหนัก หรือขนาดปริมาณไปพร้อมๆกันได้ เช่น ความมืดและความสว่าง ขึ้นอยู่ว่าเปรียบเทียบกับอะไร เข้าใจความหมายของส่วยย่อยเเละส่วนรวม การพัฒนาทางสติปัญญามีเป้าหมายสูงสุด คือสามารถคิดเเก้ปัญหานามธรรมได้ เเต่ก่อนที่จะพัฒนาถึงขั้นนี้ เด็กจะเริ่มด้วยการเรียนรู้สิ่งต่างๆจากสิ่งแวดล้อม เริ่มเเก้ปัญหาด้วยการกระทำแล้วค่อยๆพัฒนาความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ หรือเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้น จากนั้นจึงสามารถคิดแก้ปัญหารูปธรรมได้ เเละคิดแก้ปัญหานามธรรมได้ในที่สุด
เป็นขั้นตอนที่สามารถคิดและเเก้ปัญหาได้อย่างแท้จริง เด็กมรความคิดรวบยอดที่เฉียบคมและเเม่นยำมากขึ้น เเต่ยังต้อง อาศัยของจริงอยู่จึงจะคิดได้ในช่วงนี้เด็กจะรู้จักหมวดหมู่ เเละเรียงลำดับที่ซับซ้อนขึ้นเด็กในวัยนี้เริ่มมีความสามารถในการสร้างในการสร้างกฏเกณฑ์รู้จักที่จะเเบ่งสิ่งเเวดล้อมออกเป็นหมวดหมู่ได้ สามารถจัดลำดับความหนักหรือความยาวได้




            ภาพบรรยากาศในห้องเรียนค่ะ









                                 ข้อคิดเห็น
การเรียนในครั้งนี้อาจารย์ได้พูดถึงนักทฤษฏีที่เกี่ยวข้องได้ความรู้ใหม่ๆเพิ่มเติมค่ะบรรยากาศในห้องเรียนเหมาะสมดีค่ะเอื้อต่อการเรียนรู้ภายในห้องเรียนมีการถามตอบค่ะมีการเเสดงความคิดเห็น


            คำศัพท์
1.Concrete             รูปธรรม
2.Intelligence         สติปัญญา
3.Compare             เปรียบเทียบ
4.Absorb                ซึมซับ
5.New knowledge ความรู้ใหม่
6.Acknowledge     รับรู้
7.Change               เปลี่ยแปลง
8.Structure            โครงสร้าง
9.Behavior             พฤติกรรม
10.Shape                 รูปร่าง




                                 ประเมินผล

ประเมินตนเอง  วันนี้ดิฉันตั้งใจหาคำศัพท์หาความใหม่เพิ่มเติมเเละตั้งใจฟังค่ะ

ประเมินเพื่อน  วันนี้เพื่อนๆตั้งใจเรียนเเละช่วยกันเเสดงความคิดในคำตอบที่อาจารย์ที่อาจารย์ถามค่ะมองไปทางไหนก็เห็นเเต่รอยยิ้มๆของเพื่อนๆค่ะ

ประเมินอาจารย์  วันนี้อาจารย์ให้ความรู้เพิ่มเติมและนำเอานักทฤษฏีที่เกี่ยวข้องมาพูดให้เราเข้าใจเพิ่มมากขึ้นค่ะ





วันพฤหัสบดีที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2562

                       
                      บันทึกการเรียนครั้งที่ 6



   การเรียนครั้งนี้นะคะอาจารย์อาจารย์ให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอผลงานที่เเต่ละกลุ่มได้ไปค้นคว้าหาความรู้มาค่ะ 
   
หัวข้อการจัดการเรียน เรื่อง การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
   มี 3 ข้อดังนี้......

   1.กิจกรรม

       -จิกซอว์
       -รูปทรง
       -การจับคู่
       -การนับจำนวน
       -การเปรียบเทียบ
       -การจัดประเภท






                                           2.สื่อ

                                           เกม
                                    -เกมจับคู่ภาพ
                                    -เกมมิติสัมพันธ์

                                          เพลง
                                    -เพลงนับเเกะ 1-10
                                    -ลูกเป็ด 5 ตัว



   
                                           นิทาน
                              สองพี่น้องแบ่งเเตงโม
                             พ่อค้าคนใหม่
                             หน้าที่พี่ตัวเลข




                                          3.เทคนิค
  
                                   เกมกระดุมหลากสี



   -หยิบกระดุม 5 เม็ด วางบนโต๊ะโดยไม่จำเป็นต้องเรียงเเถว
     -ให้เด็กพูดพร้อมจำนวนกระดุม
     -ให้เด็กปิดตา เเล้วหยิบกระดุมออก 1 เม็ด
     -ให้เด็กลืมตาเเล้วบอกจำนวนกระดุมว่ามี มากกว่า หรือ น้อยกว่า           เมื่อเปรียบเทียบกับตอนเเรก
     -อาจเปลี่ยนกิจกรรมจากการเปรียบเทียบจำนวนเป็นการเปรียบ             เทียบขนาด

       ให้เด็กเรียนจากประสบการณ์ตรงของจริงเริ่มจากสิ่งง่ายๆใกล้ตัวเด็ก จากง่ายไปหายากสร้างความเข้าใจเเละรู้ความหมายมากกว่าท่องฝึกให้คิดปัญหาในชีวิตประจำวันของเด็กจัดกิจกรรมให้เกิดความสนุกสนานเเละได้รับความรู้


    เนื้อหาของเพื่อนกลุ่มที่ 2 

เทคนิคการสอน 

กล่องเเยกรูปทรง
เทคนิคการสอน
 -นำกล่องเเยกรูปทรงทำให้ดูเเละถามคำถาม กลองนี้เล่นอย่างไร เนื่องจากกระตุ้นให้เด็กตอบคำถาม
-เข้าสู่การเล่นเกม การให้เเยกรูปทรงใส่กล่อง โดยให้เด็กนำชิ้นส่วนต่างๆใส่ลงไปในกล่องตามช่องที่มีรูปทรงเหมือนกัน จนหมดทุกชิ้น
-ให้เด็กบอกชื่อรูปทรงของช่องบนกล่องบอกสีและรูปทรงของชิ้นส่วน

กิจกรรมพื้นฐานการบวก
เทคนิคการสอน
- นำภาพหลัก 1 ภาพที่เเสดงจำนวนต่างๆเเละภาพชิ้นส่วน 2 ภาพขึ้นไปภาพชิ้นส่วนมีขนาดครึ่งของภาพหลัก
-ให้เด็กหาภาพชิ้นส่วน 2 ภาพที่รวมกันเเล้วมีจำนวนเท่ากับภาพหลักเเล้วนำมาวางเทียบเคียงกันกับภาพหลัก

กิจกรรมจิกซอว์
เทคนิคการสอน
-ควรเริ่มจากการวางจิกซอว์เต็มภภาพเริ่มหยิบออกมาหนึ่งชิ้น เเล้วใส่ตระกร้าเข้าไป
-เมื่อเด็กเข้าใจเเล้ว หยิบออกมามากขึ้นเพื่อเพิ่มความยาก
-ระหว่างที่เล่น ควรชี้ให้เด็กสังเกตความเเตกต่างของรูปทรงเรขาคณิต
-ควรเเนะนำว่าเด็กควรหาชิ้นไหนอยู่ตรงไหน เเล้วให้เด็กค้นหาเเละหยิบไปต่อเอง


สื่อคณิตศาสตร์

กิจกรรมกระดุมหลากสี
กิจกรรมจิกซอว์
กิจกรรมเกมพื้นฐานการบวก
กิจกรรมกล่องเเยกรูปทรง

กิจกรรม

กิจกรรมเกมจิ๊กซอว์ 
จุดมุ่งหมาย   ส่งเสริมการใช้ความคิดเด็กได้รู้จักรูปทรงเรขาคณิต ได้ฝึกทักษะพัฒนาการด้านสติปัญญา มีสมาธิความจำดีขึ้น

กิจกรรมพื้นฐานการบวก
จุดมุ่งหมาย   ส่งเสริมการใช้ความคิดอย่างมีเหตุผล การตัดสินใจเเก้ปัญหา ฝึกทักษะทางตัวเลขฝึกให้มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการรวมกันหรือการบวก

กิจกรรมกล่องเเยกรูปทรง
จุดมุ่งหมาย  ส่งเสริมทักษะการจำเเนกเปรียบเทียบรูปทรงเรขาคณิตส่งเสริมการรับรู้เรื่องสี

  เนื้อหาของเพื่อนกลุ่ที่ 3 

กิจกรรม
1.การนับ เป็นการเรียนรู้ตัวเลขอันดับเเรกที่เด็กรู้จัก เป็นการนับอย่างมีความหมาย
2.ตัวเลข เป็นการให้เด็กรู้จักตัวเลขที่เห็นหรือใช้ในชีวิตประจำวัน
3.จับคู่ ให้เด็กรู้จักสังเกตลักษณะต่างๆและจับคู่สิ่งที่เหมือน หรือประเภทเดียวกัน
4.การจัดประเภท เด็กรู้จักคุณสมบัติของสิ่งต่างที่ว่าเหมือนต่างกันอย่างไร
5.เปรียบเทียบ การสืบเสาะเเละอาศัยความสัมพันธ์ระหว่างสองสิ่ง หรือมากกว่า
6.จัดลำดับ จัดสิ่งของชุดหนึ่งๆตามคำสั่งหรือตามกฏที่กำหนดไว้
7.รูปทรงเเละเนื้อที่ เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับรูปทรง ความกว้าง ความสูง ของสิ่งต่างๆ
8.การวัด ให้เด็กรู้จักความยาว ระยะ การสั่ง น้ำหนัก เเละรู้จักการประมานอย่างคร่าวๆ

สื่อ
นิทานเรื่อง ลูกหมูเก็บฝืน
สิ่งที่ได้รับจากนิทานจากเรื่องนี้
นิทานเรื่องนี้จะสอนให้เด็กๆในเรื่องของการนับเลข เเละรูปทรงต่างๆ เช่นวงกลมสามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม

เทคนิค
ขั้นตอนที่ 1 หาเกมง่ายๆเช่นจับคู่ ต่อบล็อค การโยงเส้น เพื่อให้เด็กไดด้เห็นภาพ หรือเห็นความเป็นไปอย่างเเท้จริงก่อน

ขั้นตอนที่ 2 การตั้งโจทย์โดยการยกตัวอย่างเพื่อให้เห็นภาพชัดเจน

ขั้นตอนที่ 3 การเเทนค่าเป็นกลุ่มทำให้เด็กเข้าใจ เเละนับเลขได้ง่ายขึ้น เช่น 10 20 30 40 หรือ 5 10 15 20

    ข้อคิดเห็น
     การเรียนในครั้งนี้นะคะได้อะไรที่หลากจากเพื่อนทุกกลุ่มที่ได้นำความเพื่อเพิ่มเติมเเต่ละกลุ่ม และบรรยากาศภายในห้องเรียนเหมาะสมดีค่ะเอื้อต่อการเรียนรู้ การเรียนมีการถามตอบ ทำความเข้าใจไปพร้อมๆกันค่ะ เเละที่เป็นจุดเด่นของรายวิชานี้นะคะ คือการที่อาจารย์ให้เเสดงจุดยืนของตัวเองคือการเเสดงความคิดเห็นค่ะ




                             ภาพบรรยากาศในห้องเรียนค่ะ









          คำศัพท์

1.Teaching            เทคนิค
2.Measurement     การวัด
3.Match                 การจับคู่
4.Step                    ขั้นตอน
5.Activities            กิจกรรม
6.Benefit                ประโยชน์
7.Diagram              เเผนผัง
8.Learning Media   สื่อการเรียนรู้
9.Thought                ความคิด
10.Harmonious       สามัคคี  




                                    ประเมินผล

ประเมินตนเอง    วันนี้วันนี้จากที่เรียนเรื่องเทคนิคในการสอนฉันได้รับความรู้ดีๆเเละได้เเสดงความคิดเห็นได้พรีเซ็นหน้าห้องเป็นความรู้สึกการกล้าเเสดงออกความมั่นใจของฉันอีกก้าวหนึ่งค่ะ

ประเมินเพื่อน   เพื่อนมีความกระตือรือร้นพร้อมที่จะทำงานกลุ่มมีการนัดเเนะเเบ่งหน้าที่ไว้คร่าวๆมองไปทางไหนก็เห็นเเต่รอยยิ้มของเพื่อนๆค่ะ

ประเมินอาจารย์   เเนะเเนวชี้เเนะให้เข้าใจเเจ่มเเจ้งเเละคนไหนที่ไม่เข้าใจอาจารย์พร้อมอธิบายให้ฟังใหม่อีกรอบเเละบอกความรู้ใหม่เพิ่มเติม



















วันอังคารที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2562

              
                       " บันทึกการเรียนครั้งที่5"


       ความรู้ที่ได้รับ

     การเรียนในครั้งนี้นะคะอาจารย์ให้เราเข้าชมนิทรรศการของรุ่นพี่ปี5 ค่ะการฝึกสอนของุ่นพี่เป็นอย่างไรต้องเตรียมตัวอย่างไรได้ประสบการณ์ใหม่ๆแบบไหนบ้างให้เราได้สอบถามรุ่นพี่และรุ่นพี่ได้ให้คำแนะนำดีๆกับเราอย่างไรบ้าง การจัดประสบการณ์ต่างๆ การทำโครงการที่เด็กสนใจ รุ่นพี่ได้นำมาถ่ายทอดความรู้เหล่านี้มาอธิบายให้เราฟัง


          การเข้าชมนิทรรศการสิ่งที่ได้รับรู้และได้ความรู้ในการนำมาปรับใช้มีดังนี้




                               การวิจัยในชั้นเรียน

      เนื่องจากการวิจัยในชั้นเรียนมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ครูใช้กระบวนการวิจัยในการเเก้ปัญหาเเละพัฒนาผู้เรียน จุดเน้นของการวิจัยทำวิจัยที่จะเเก้ไขปัญหาเเละพัฒนาผู้เรียน ซึ่งได้เเก่ การศึกษาถึงปัญหาเเละจุดที่ต้องการพัฒนา ศึกษาถึงสาเหตุของปัญหา ศึกษานวัตกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนหรือปัญหาการสอนของครู ประมวลผลการเเก้ปัญหา สรุปผลการทดลองเเละเขียนรายงาน

     ปฐมวัยจัดว่าเป็นระยะที่สำคัญที่สุดของชีวิต เป็นจุดวิกฤตของการได้เรียนรู้สิ่งต่างๆได้อย่างรวดเร็วพัฒนาการทุกๆด้าน ทั้งด้านร่างกาย
ด้านอารมณ์ ด้านสังคม บุคลิกภาพ โดยเฉพาะด้านสติปัญญาจะสามารถเจริญเเละหล่อหลอมได้ดีในช่วงนี้





                "การสอนแบบไฮสโคป"

         ไฮสโคป (High Scope)   เป็นการสอนเน้นการเรียนรู้แบบลงมือทำผ่านมุมเล่นที่เหมาะหลากหลาย ด้วยสื่อและกิจกรรมที่เหมาะสมกับพัฒนาการของเด็ก และการเเก้ปัญหาอย่างกระตือรือร้น โดยการให้เด็กเป็นผู้ริเริ่มการเล่นหรือกิจกรรมต่างๆ อย่างอิสระ ซึ่งตรงตามทฤษฏีพัฒนาการทางสติปัญญา     เด็กจะได้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรงทำให้เกิดความคิด ความรู้ ความเข้าใจ เเละรู้จักลงมือเเก้ปัญหาด้วยตัวเอง

         โครงการพัฒนาเด็กปฐมวัยตามหลักค่านิยม 12 ประการ

        จากการเข้าชมสิ่งที่ได้รู้ค่านิยมของคนไทย 12 ประการ ได้เป็นส่วนหนึ่งในการจัดประสบการณ์ให้กับเด็กปฐมวัย อย่างเช่น ศิลปะ
สร้างสรรค์
   

                  การจัดกิจกรรมแบบ โครงการ Project Approach
   
             สิ่งที่ได้รับจากกิจกรรมเรียนรู้ตามเเบบโครงการ Project Approach  ส่งเสริมให้เด็กแสวงหาคำตอบ 
     

      โครงการฟาร์มของพ่อหลวง
   

           จากการที่ได้เข้าชมนิทรรศการในครั้งนี้นะคะได้ความรู้เพิ่มเติมต่างๆมากมายจากรุ่นพี่ที่ได้นำความรู้มามอบให้และได้อธิบายสิ่งต่างๆอีกมากมายที่เราจะสอนเด็กให้เป็นคนดีเติบโตมามีความรู้เป็นผู้ใหญ่ที่ดีในวันข้างหน้าอย่างไร

ชมภาพบรรยากาศในงานค่ะ









                              " คำศัพท์"

                   1.texcher              ครู อาจารย์
                   2.equipment         อุปกรณ์
                   3.Material            วัสดุ
                   4.creativity           ความคิดสร้างสรรค์
                   5.Project Approach  การสอนเเบบโครงการ
                  6.Values                  ค่านิยม
                  7.The area              พื้นที่
                  8.portfolio               ผลงาน
                  9.Piece                     ชิ้น
                 10.Report                 รายงาน





                                      "ประเมินผล"

                                    ประเมินตนเอง

        วันนี้ดิฉันดีใจที่ได้ไปฟังรุ่นพี่เเนะนำเเละตั้งใจฟังอย่างดีเพื่อนำเอาความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในภายภาคหน้า
  
                                    ประเมินเพื่อน

เพื่อนๆตั้งใจฟังรุ่นพี่ในการเเนะนำความรู้ที่มอบให้เเละช่วยกันตั้งคำถามเพื่อให้ได้ความรู้ในข้อที่สงสยหรืออยากรู้เป็นความรู็เพิ่มเติมค่ะ

                                     ประเมินอาจารย์

    วันนี้อาจารย์พาไปเรียนรู้นอกห้องเรียนค่ะ